🇹🇭 Thailand Episodes

2582 episodes from Thailand

MM62 เรื่องเล่าจาก SingularityU Summit Bangkok 2018

From Mission To The Moon

John Hagel Co-Chair ของ Deloitte 's Center for the Edge จะมาเล่าถึงวิธีคิดที่จากพาองค์กรเดินฝ่าคลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง ผ่านสามเรื่องที่เราคุยกันเยอะมากทุกวันนี้ได้แก่.1. Rethinking Strategy : What is Zoom out - Zoom In strategy 2. Reframe innovation3. Refocus transformation .ฟังวันนี้จบมาเล่ากันให้ฟังสดๆเลยครับ :)

MM60 ลดอายุด้วยการออกกำลังกาย?

From Mission To The Moon

ชวนคุยก่อนเขัาสัปดาห์ใหม่ว่าทำไมการออกกำลังกายถึงทำให้คุณเด็กลงได้ 9 ปี จากงานวิจัยของนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลและการเก็บข้อมูลของ CDC (Centers for Disease Control and Prevention )

MM58 How will you measure your life?

From Mission To The Moon

ชวนคุยจากบทความของ Clayton M. Christensen เรื่อง How Will You Measure Your Life? .1. Create a strategy for your life2. Allocate your resources3. Create a Culture 4. Avoid the Maginal Cost Mistake 5. Remember the importance of Humility 6. Choose the right yardsitck

MM57 Scalable / Nonsaclable

From Mission To The Moon

ธุรกิจที่คำนึงถึงเรื่องความสามารถในการขยายธุรกิจตั้งแต่แรก มักจะมีความสามารถในการ scale สูงมากตามไปด้วย ในมุมกลับกันหลายธุรกิจที่ไม่ได้วางแผนในเรื่องนี้ไว้ จะกลายเป็นธุรกิจที่ขยายได้ช้าหรือ nonscalable ไปเลย .ผมชอบนิยามการเปรียบเทียบเรื่องความสามารถในการขยายแบบ scalable / nonscalable ที่ Nassim Nicholas Taleb เคยให้ไว้ตามนี้ครับ .ลองจินตนาการภาพของสิ่งที่ nonscable ดู .สมมติว่าเราสุ่มประชากรทั่วๆไปมา 1,000 คน.คุณลองนึกถึงคนที่หนักที่สุดเท่าที่นึกออกแล้วนำคนนั้นเข้ามายืนในแถวด้วย สมมติว่าคนๆนี้มีน้ำหนักมากถึงสามเท่าของคนปกติ หนักประมาณสองร้อยกว่ากิโลกรัม ถึงแม้จะมีคนนี้อยู่ในแถว น้ำหนักของเขาจะถูกคิดเป็นอัตราส่วนเพียงเล็กน้อยของน้ำหนักรวมของคน 1,000 คนที่อยู่ในแถว อาจจะเป็นประมาณ0.5 % ได้ . และถ้ายิ่งเราเพิ่มจำนวนตัวอย่างจาก 1,000 คน เป็น 10,000 คน คนที่น้ำหนักตัวมากที่สุดในกลุ่มยิ่งมีผลน้อยมากๆต่ออัตราส่วนน้ำหนักรวมทั้งหมดของกลุ่มตัวอย่าง.ในสถานการณ์ nonscalable แบบนี้ การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของเหตุการณ์เดี่ยวๆในแต่ละครั้ง แทบจะไม่ส่งผลต่อสถานการณ์รวมทั้งหมดเลย.แม้ว่าเหตุการณ์เดี่ยวๆหรือตัวอย่างเดี่ยวๆจะดูน่าตื่นเต้นเพียงใด อย่างในกรณีนี้คือ น้ำหนักตัวของคนที่มีน้ำหนักมากๆ แต่จริงๆแล้วมันแทบจะไม่ส่งผลอะไรเลยต่อภาพรวมทั้งหมด. เพราะเราไม่มีมนุษย์ที่หนัก 10,000 ตันได้.นี่คือสิ่งที่เรียกว่า nonscalable .ตัวแปรแบบ nonscalable คือตัวแปรที่มีค่าแปรผันน้อย จะทำยังไงก็ไม่สามารถเพิ่มหรือลดได้มากนัก ซึ่งมักเป็นค่าที่เกี่ยวกับปริมาณ เช่น ความสูง น้ำหนักIQ ชั่วโมงการทำงานต่อวัน ฯลฯ .สมมตินะครับ ถ้าคุณมีอาชีพอะไรก็แล้วแต่ที่ต้องอาศัยตัวคุณทำงานและคุณรับค่าแรงเป็นชั่วโมง ไม่ว่าค่าแรงคุณจะแพงแค่ไหนก็ตาม คุณก็จะมีเพดานในการหารายได้ได้ประมาณนึงเท่านั้น เพราะในแต่ละวันคุณมีเวลาจำกัด . ในขณะเดียวกันยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เรียกว่า scalable .ซึ่ง Taleb เปรียบเทียบไว้อย่างน่าสนใจครับ .จากที่ตอนแรกที่เรานำคน 1,000 คนมาเข้าแถวเรียงกันโดยใช้น้ำหนักเป็นเกณฑ์.คราวนี้ทดลองใหม่โดยการเลือกประชากรทั่วไปมาแข้าแถวเหมือนเดิม แต่จะใช้ทรัพย์สินเป็นเกณฑ์แทนที่จะเป็นน้ำหนัก.หลักการเดียวกันกับตอนที่ให้นึกถึงคนที่มีน้ำหนักตัวมากที่สุดครับ คราวนี้ให้นึกถึงคนที่มีทรัพย์สินเยอะที่สุดที่เราพอจะนึกออก แล้วนำเขามารวมอยู่ในแถวด้วย.สมมติว่าเราเลือก Bill Gates มาละกัน .Bill Gates มีทรัพย์สินประมาณ 80 Billion USD หรือราวๆ 2.6 ล้านล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับผลรวมของทรัพย์สินของกลุ่มตัวอย่างที่เราเลือกมาอีก999 คนที่ยืนเข้าแถวอยู่นั้น ทรัพย์สินของ Bill Gates จะคิดเป็น % เท่าไรของผลรวมทั้งหมด ?.น่าจะราวๆ 99.9% ได้ครับ.ถ้าหากจะเปรียบเทียบให้เห็นภาพ การที่คนคนหนึ่งจะมีน้ำหนักตัวและส่งผลต่อผลรวมของกลุ่มมากขนาดนี้ คนคนนั้นต้องมีน้ำหนักตัวถึง 2.4 ล้านกิโลกรัม!!.เพราะฉะนั้นการใส่ Bill Gates เข้าไปในแถว หรือเอา Bill Gates ออกจากแถวจะส่งผลต่อผลรวมของกลุ่มตัวอย่างนี้เป็นอย่างมาก .ติดตามเรื่องราวนี้ต่อได้ใน EP นี้เลยครับ

MM56 เวลาเท่าเดิม ทำยังไงให้ได้งานเพิ่ม

From Mission To The Moon

How to get most out of your team.ก่อนจะเริ่ม implement นโยบายประเภทนี้ ควรจะต้องลองทำด้วยตัวเองก่อนนะครับว่ามันเวริ์คไหม ทำแล้วรู้สึกยังไง ฝืนไหม .ผมลองอะไรมาหลายอย่างมากแล้วครัยบ และคิดว่าวิธีคิดทั้ง 4 ข้อนี้น่าจะดีและไม่อยากเกินไปสำหรับการไปใช้งานจริง .1. จำกัดการสื่อสารให้พอเหมาะ : อันนี้โคตรงาน craft ครับบอกเลย เพราะการสื่อสารที่เยอะเกินไปจะออกแนวคุยเล่นซะมาก น้อยเกินไปก็ไม่ดีแน่ๆ อย่างเรื่องประชุมที่เป็นของที่ไม่ใช้ให้ดีจะกินเวลาเป็นอย่างมาก ผมขอมาสรุปข้อคิดง่ายๆอีกรอบละกันนะครับ . 1.1 การเริ่มตรงเวลาสำคัญมาก ถ้าเราประชุมกัน 6-7 คนแล้วต้องรอคนแค่คนเดียว 10 นาทีนั้นหมายถึงเราเสียประสิทธิภาพของการประชุมไปถึง 16.67% หรือถ้าคิด man-hour คือ 1 ชมเลยทีเดียว ซึ่งเยอะมากๆ.ดังนั้นสองเรื่องง่ายๆคือ facilitator ห้ามสาย และ facilitator ต้องไม่รอคนอื่น ให้เริ่มประชุมเลย ถ้ารอ คราวหน้าคนที่มาตรงเวลาก็จะไม่อยากมาตรงเวลา เพราะต้องมานั่งรอเสียเวลา กลายเป็นว่าคราวนี้การสายจะกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กรไป อันนี้ไมดีแน่ๆ .อันนี้เป็นการสร้างนิสัยที่ดีซึ่งฝึกกันได้ครับ .1.2 มีเวลาในการเริ่มและจบที่ชัดเจนมากๆ ที่สำคัญคือให้เวลาให้สั้นที่สุดและต้องแน่ใจว่าเรื่องที่จะประชุมเป็นเรื่องที่ต้องประชุมจริงๆ.การประชุมทุกอย่างไม่ควรเกิน 1 ชมเป็นอย่างมาก และถ้า facilitator ทำให้จบได้เร็วกว่าถือว่ายิ่งควบคุมการประชุมได้ดี .1.3 คนที่ไม่เกี่ยวอย่าเอาเข้าประชุม : การเอาคนเข้ามาประชุมเพียงเพื่อ “แจ้งเพื่อทราบ” อย่าทำเพราะเสียเวลาทุกคน รวมถึงเวลาของบริษัทด้วย .1.4 อยากให้ทุกทีมมี meeting free day : วันนี้ทีมของตัวเองกำหนดไปเลยว่าจะไม่มีการประชุมใดๆทั้งสิ้นให้เป็น maker’s day คือวันแห่งการโฟกัสแต่เรื่องงานจริงๆเท่านั้น.1.5 ระวัง Bike Shed Effect : Bike Shed Effect มากจากการเตรียมตัวไม่พร้อมในการเข้าประชุม.ที่มาของชื่อมาจากเหคุการณ์การประชุมที่ต้องการตัดสินใจเรื่องการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์มูลค่าหลายพันล้านเหรียญ.เมื่อเริ่มประชุมตอนคุยกันเรื่องการอนุมัติรายละเอียดของการก่อสร้างตัวโรงไฟฟ้า ที่ประชุมอนุมัติรายละเอียดเร็วมาก โดยแทบไม่มีการถกรายละเอียดอะไรกันมากนัก.แต่พอมาถึงเรื่องของที่จอดจักรยาน (bike shed) คนในที่ประชุมกลับมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะมากมาย.และใช้เวลากับเรื่องนี้เยอะมาก เยอะกว่าเรื่องตัวโรงไฟฟ้าอีก ทั้งๆที่มันเป็นรายละเอียดปลีกย่อยที่ไม่สำคัญเลยเทียบกับโรงไฟฟ้ามูลค่า หลายพันล้านเหรียญ. 1.6 การกำหนดเวลาที่จะประชุมต้องทำอย่างมีกลยุทธ์​ .1.7 Silent means a YES vote .   2. ให้แน่ใจว่าทุกวันงานสำคัญทำเสร็จด้วย MIT .MIT ย่อมาจาก Most important Task หรือ Thing คือสิ่งที่สำคัญที่สุดในวันนั้นที่เราทำแล้วจะมีผลต่อเป้าหมาย.“Which dominos will tips the chain reaction”.3. Sprint then Rest .4. Create a good environment

MM54 Extreme Productivity Day

From Mission To The Moon

Extreme Productivity Day .1. Let everyone know you won't be available2. Decide how long you will work3. Totally commit to how long you decided to work4. Start EPR at an unusual time5. Delay and space out your rewards6. Refuel before you think you need to refuel7. Take productivity breaks8. Take your breaks at a counterintuitive moment.9. Don't stop until you're done- even if finishing takes longer than expected.

MM50 The 5 Elements of Effective Thinking

From Mission To The Moon

ชวนคุยเรื่องหนังสือ The 5 Elements of Effective Thinking1. Earth : Grounding your thinking2. Fire : Igniting Insights through Mistakes 3. Air : Creating Questions out of Thin Air 4. Water : Seeing the Flow of Ideas5. The Quintessential Element : Engaging Change

MM49 รับมือกับคำวิจารณ์ลบยังไง?

From Mission To The Moon

วันนี้จะมาชวนคุยเรื่อง ห้าวิธีการรับมือกับคำวิจารณ์ลบแบบไม่ให้เสียกระบวนท่า.1. ช้าๆก่อน.2. หาข้อมูลเพิ่ม.3. ใช้ใบเบิกทาง.4. อย่าพลักคนออก.5. การเปลี่ยนหรือแก้ไขไม่ใช่ทางออกเดียว

MM45 Low hanging fruit

From Mission To The Moon

คุยถึงหนังสือเรื่อง Low Hanging Fruit ของที่บางทีง่ายแต่ไม่ง่าย อยู่ตรงหน้าแต่มองไม่เห็น

MM44 Work Life Intregration

From Mission To The Moon

อยากมีเวลาทำงานให้ดึ ดูแลครอบครัวให้ดี แล้วสุขภาพดีด้วยทำไงดี?

Page 127 of 130 (2582 episodes from Thailand)

🇹🇭 About Thailand Episodes

Explore the diverse voices and perspectives from podcast creators in Thailand. Each episode offers unique insights into the culture, language, and stories from this region.